จอ Itouch Camry ราคา

เพิ่มการขยายตัวของทรวงอก ( Chest expansion) ในขณะที่ผู้ป่วยหายใจเข้า-ออก ลึกๆและออกแรงดูด-เป่าอุปกรณ์จะเห็นการไหลของของเหลวอย่างชัดเจนทำให้สร้างแรงจูงใจในการออกกำลังกาย 5. ป้องกันปอดแฟบ ( Atelectasis) การวัดผลและผลของการเปลี่ยนแปลง 1. จากการทดสอบวัดการขยายตัวของทรวงอกผู้ป่วยโดยใช้สายวัด ขณะใช้อุปกรณ์พบว่าการ ขยายตัวของทรวงอกเพิ่มขึ้นไม่แตกต่างจากการใช้ Triflow และขยายตัวมากกกว่าการฝึกหายใจ ( Breathing Exs. ) ธรรมดา 2. ผู้ป่วยมีอุปกรณ์ฝึกฟื้นฟูสมรรถภาพปอดที่เหมาะสมเฉพาะรายฝึกได้ต่อเนื่องตามต้องการผู้ป่วย พึงพอใจ มีความสนใจที่จะฝึกมากขึ้นและไม่กังวลเรื่องการใช้อุปกรณ์ร่วมกับผู้อื่น สามารถนำกลับไปใช้ที่บ้านได้ล้างทำสะอาดได้ง่าย อ้างอิงจาก นางสาวบุษกร แก้วเขียว วุฒิการศึกษาปริญญาตรีวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขากายภาพบำบัด ตำแหน่ง นักภาพบำบัด โรงพยาบาลควนเนียง หลักในการจัดการอาหาร หลักในการจัดการอาหารสำหรับผู้ป่วยปอดอุดกลั้นกลั้นเรื้อรัง ขั้นตอนที่ 1 แบ่งจานมาตรฐาน 9 นิ้ว ออกเป็น 4 ส่วน ส่วนที่ 1 หมายถึง 1/4... นวัตกรรม ปอดขยับ ชีวิตขยาย วัสดุอุปกรณ์ 1. ขวดน้ำเกลือหรือขวดแอลกอฮอล์ 2 ขวด 2. สายน้าเกลือหรือสายยาง 1-2... โรคปอดอุดกลั้น COPD (Chronic Obstructive Pulmonary Disease) หรือโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เกิดจากปอดได้รับความเสียหายอย่างเรื้อรั... ดูแลตัวเองอย่างไรไม่ให้เป็นโรคปอด วิธีการง่ายๆ ในการดูแลตัวเองสำหรับผู้สูงอายุ คือพักผ่อนให้เพียงพอ และหลีกเลี่ยงที่จะอยู่ใกล้ชิดหรื...

  1. นวัตกรรม กล่องใส่ขวดระบายทรวงอก : ICD Safety Box
  2. Error

นวัตกรรม กล่องใส่ขวดระบายทรวงอก : ICD Safety Box

Intercoatal Draninge (ICD) ข้อบ่งชี้ เพื่อระบายอากาศ สารน้ำ หรือเลือด ในโพรงเยื่อหุ้มปอด ข้อห้าม เช่นเดียวกับการเจาะโพรงเยื่อหุ้มปอด อุปกรณ์ • เช่นเดียวกับที่ใช้ในการเจาะโพรงเยื่อหุ้มปอด • ท่อระบาย โพรงเยื่อหุ้มปอด ข้อต่อ สายยาง ขวดระบาย • อุปกรณ์ในการผ่าตัดเล็ก วิธีการ 1. ตำแหน่งที่จะใส่ท่อระบายคือช่องซี่โครงที่ 5-6 ในแนวเส้นกลางรักแร้ ในกรณีที่ต้องการระบายอากาศ อย่างเดียวอาจใส่ ตรง ช่องซี่โครงที่ 2-3 ทางด้านหน้า ในแนวเส้นกลางไหปลาร้า 2. ให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงประมาณ 45 องศา โดยวา งแขนข้างที่จะใส่ท่อระบายไว้ เหนือ ศีรษะเพื่อให้ช่อง ซี่โครงนั้นเปิดกว้าง 3. เตรียมผิวหนังและฉีดยาชาเช่นเดียวกับการเจาะ โพรงเยื่อหุ้ม ปอด แต่ให้บริเวณกว้างขึ้นและใช้ยาชา ประมาณ 10 มล. 4. ใช้มีดกรีดผิวหนัง จนลึก ถึงชั้นเนื้อเยื่อ ใต้ผิวหนัง ( subcutaneous tissue) เป็นแนวขนาน กับ ช่องซี่โครง ยาวประมาณ 2 ซม. ใช้ clamp แหวก เนื้อเยื่อ จนถึงกล้ามเนื้อระหว่างซี่โครง แล้วแหวกกล้ามเนื้อทาง ด้านขอบบนของซี่โครง ซี่ ล่างจนทะลุ ผ่านเข้าโพรงเยื่อหุ้มปอด ให้เป็นช่องขนาดประมาณ 1 ซม. ใส่ท่อระบายไปตามช่องที่แหวกไว้ โดยใช้ clamp เป็นตัวนำจน ได้ความลึกที่ต้องการ ระหว่างนี้ใ ช้ clamp อีกตัวหนึ่งหนีบ ปลาย อีกด้านของ ท่อระบายไว้ก่อน เมื่อได้ตำแหน่งดีแล้วลอง ปล่อย clamp ให้แน่ใจว่าสารน้ำหรืออากาศไหลออกได้สะดวกแล้ว ใช้ clamp หนีบท่อระบาย ไว้เช่นเดิม ต่อท่อระบาย เข้ากับ ปลายด้านหนึ่งของข้อต่อซึ่งปลายอีกด้านต่ออยู่กับสายยางที่ต่ออยู่กับ ขวดระบาย พันปิดรอยต่อ ด้วยพลาสเตอร์ให้แน่นแล้ว ล่อย clamp ที่ท่อระบาย 5.

น้ำในขวด subaqeous ถูกดูดกลับไปขวด reservoir แสดงว่ามีความดันเป็นลบสูงขึ้นในโพรงเยื่อหุ้มปอดจากปอดไม่ขยายตัว แก้ไขโดยการต่อสายระหว่างขวด subaqeous กับขวด reservoir ให้ยาวขึ้นและจัดสายให้อยู่สูงกว่าขวดทั้งสอง และ หาวิธีทำให้ปอดขยายตัว เช่น เพิ่มแรงดูดให้มากขึ้น เป็นต้น 8. น้ำในขวด pressure regulator พุ่งออกมาภายนอกขวดขณะที่ผู้ป่วยไอหรือหายใจแรง แสดงว่ามีอากาศรั่วจากโพรงเยื่อหุ้มปอดออกมาปริมาณมาก ให้ใช้เครื่องดูดที่มีแรงดูดมากขึ้น หรือเปลี่ยนไปใช้ระบบสี่ขวด ภาวะแทรกซ้อน • การบาดเจ็บต่อเนื้อปอดหรืออวัยวะข้างเคียง เช่น ตับ, กระเพาะ, ลำไส้, ม้าม เป็นต้น • การอักเสบหรือการติดเชื้อในโพรงเยื่อหุ้มปอด การเอาท่อระบายออก 1. เมื่อปอดขยายตัวดี และไม่มีอากาศรั่วเพิ่มเติม 2. เมื่อสารน้ำไม่ออกเพิ่มขึ้น คือ - สารน้ำที่เกิดจากการติดเชื้อ ถ้าออกน้อยกว่า 50-100 มล. ต่อวัน โดยน้ำมีลักษณะใสและผู้ป่วยไม่มีไข้ - สารน้ำที่เกิดจากโรคมะเร็ง หรือจากสาเหตุอื่น ถ้าออกน้อยกว่า 150 มล. ต่อวัน วิธี การทำความสะอาดรอบแผล ตัดไหม ใช้ผ้ากอซชุบวาสลินหุ้มปิดรอบท่อระบายตรงตำแหน่งปากแผล ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าสุดแล้วกลั้นหายใจไว้ รีบดึงท่อระบายออกโดยรวดเร็วและนุ่มนวล หลังจากนั้นให้ผู้ป่วยหายใจตามปกติแล้วจึงปิดแผลด้วยผ้ากอซปราศจากเชื้อ เอกสารประกอบ 1.

ผู้เข้าชมทั้งหมด 11, 063, 326 ผู้เข้าชมวันนี้ 7, 907 ผู้เข้าชมขณะนี้ 1, 248
การต่อ ICD แบบ 2 ขวด - YouTube

Error

  • ปอดรั่ว ตอนที่2 : ขวดระบายลมในทรวงอก (ขวดICD) ทำงานอย่างไร? - YouTube
  • Icd 2 ขวด eye
  • Icd 2 ขวด heart
  • เดด บาย เด ไล

นวัตกรรม ปอดขยับ ชีวิตขยาย วัสดุอุปกรณ์ 1. ขวดน้ำเกลือหรือขวดแอลกอฮอล์ 2 ขวด 2. สายน้าเกลือหรือสายยาง 1-2 สาย (แล้วแต่ความยาวที่ต้องการ) 3. น้าผสมสีผสมอาหาร วิธีการใช้งาน - กรณีฝึกกล้ามเนื้อหายใจออก ( Exspirator muscle) ด้วยการหายใจเข้าลึกๆและเป่าที่อุปกรณ์ยาวๆน้าจะไหลจากขวดซ้ายมือไปขวดขวามือโดยอาศัยแรงดันอากาศจากแรงเป่า ของคนไข้ - ก รณีฝึกกล้ามเนื้อหายใจเข้า ( Inspirator muscle) ด้วยการหายใจโดยการดูดอุปกรณ์เข้าลึกๆ ( สังเกต ขวดจะเบี้ยวขณะดูด) แล้วปล่อยปล่อยน้ำจะไหลขวดขวามือไปขวดซ้ายมือโดยอาศัยการ แทนที่ของแรงดันขวดซ้ายมือที่คนไข้ดูดเข้าไป เป้าหมาย 1. นวัตกรรมปอดขยับ ชีวิตขยาย ( Lung shifting extend life) ใช้สำหรับฟื้นฟูสมรรถภาพปอดใน ผู้ป่วยโรคปอดอุดกลั้นเรื้อรัง ( COPD), ผู้ป่วยที่เจาะปอด ( On ICD at Chest) เพื่อขับของเสีย, ผู้ป่วยที่มีปัญหา กล้ามเนื้อในการหายใจอ่อนแรง และผู้ป่วยปอดแฟบ ( Atelectasis) ในรายที่แพทย์ส่งปรึกษา 2. เพื่อให้ผู้ป่วยมีอุปกรณ์ฝึกกล้ามเนื้อในการหายใจเฉพาะรายที่เหมาะสมและสามารถนากลับบ้าน เพื่อฝึกต่อได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 3. ช่วยประหยัดงบประมาณโรงพยาบาลในการซื้ออุปกรณ์ฝึกกล้ามเนื้อหายใจเข้าหรือ Triflow ที่มีราคาแพงและไม่เพียงพอต่อผู้รับบริการและต้องใช้ซ้ำกัน ไม่สามารถนำกลับบ้านได้ 4.

ระบบสี่ขวด เพิ่มขวด subaqueous อีก 1 ขวดโดยต่อจากขวด reservoir ของระบบสามขวด เพื่อให้มีการระบายอากาศ ได้ถ้าเครื่องดูดสูญญากาศไม่ทำงานหรือมีอากาศออกมามาก ขวด subaqueous ใช้ป้องกันไม่ให้อากาศไหลย้อนกลับเข้าตัวผู้ป่วย โดยจัดให้ปลายท่อด้านในขวดอยู่ต่ำกว่าระดับน้ำประมาณ 2 ซม. ในระบบขวดเดียวถ้ามีสารน้ำออกมาร่วมด้วยจะทำให้น้ำในขวดสูงเกิน 2 ซม. ขึ้นไป ควรรีบเปลี่ยนขวดใหม่หรือเปลี่ยนไปใช้ระบบสองขวด เนื่องจากสารน้ำที่เพิ่มขึ้นจะทำให้การระบายอากาศเป็นไปได้ยาก สำหรับการใช้ระบบสามขวดหรือสี่ขวดที่มีเครื่องดูดสูญญากาศจะต้องเห็นมีฟอง อากาศในขวด pressure regulator ตลอดเวลา ซึ่งแสดงว่าเครื่องดูดทำงานและมีแรงดูดเพียงพอ ฝาปิดขวดและข้อต่อต่างๆ ต้องพันปิดด้วยพลาสเตอร์ให้แน่นเพื่อป้องกันการรั่วติดต่อกับอากาศภายนอก ( หมายเหตุ ปัจจุบันมีระบบขวดระบายสำเร็จรูปซึ่งใช้ได้ครั้งเดียวโดยใช้หลักการเดียวกับระบบที่ใช้กันอยู่เดิม แต่มีราคาแพง) ดูรูปการต่อขวด drain ข้อควรระวัง 1. สายต่อจากท่อระบายไปยังขวด reservoir ต้องไม่ให้ยาวมากเกินไปจนทำให้การระบายไม่สะดวก แต่ก็ไม่ควรให้สั้นเกินไปจน เป็นอุปสรรคต่อการเคลื่อนไหวของผู้ป่วย 2.

นันทา มาระเนตร์. การเจาะระบายทรวงอกแบบปิด. ใน: สง่า นิลวรางกูร, จินตนา ศิรินาวิน, บรรณาธิการ. การปฏิบัติการ และหัตถการทางอายุรศาสตร์, โครงการตำราศิริราช, กรุงเทพมหานคร, เรือนแก้วการพิมพ์, 2532; 151-8. 2. Pierson DJ. management of pneumothorax, bronchopleural fistula, and pleural effusion. In: Pierson DJ, Kacmarek RM, eds. Foundations of respiratory care, Churchill Livingstone, NewYork, 1992;159-68. 3. Light RW. Chest tube. In: Light RW, ed. Pleural disease 3 rd edition, Williams & Wilkins, Baltimore, 1995;327-37.

Details Created by ผู้ดูแลระบบ Created: 09 January 2018 Size: 245 Kb Downloads: 4670 Download document ชื่อโครงการ: (ไทย) นวัตกรรม กล่องใส่ขวดระบายทรวงอก: (อังกฤษ) ICD Safety Box ชื่อนักวิจัยหลัก: นางสาวเสาวภา ขันสุวรรณา ตำแหน่ง: พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ หน่วยงาน: งานอุบัติเหตุฉุกเฉิน โรงพยาบาลหนองบัวลำภู วุฒิการศึกษา: พยาบาลศาสตรบัณฑิต เบอร์โทรศัพท์: 042-311999 มือถือ 093-2936194 อีเมล์: This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. รายชื่อทีมวิจัย: นางอำนวย ลุนละวงษ์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ นางสาวรัชชินัย คำจันลา พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ <<< ย้อนกลับ

การต่อแบบ 1 ขวด การต่อแบบ 2 ขวด การต่อแบบ 3 ขวด การต่อแบบ 4 ขวด กลับหน้าหัตถการทางศัลยกรรม